สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast รับเหมาก่อสร้างโรงงาน ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด รับเหมาก่อสร้างโรงงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

แอร์ติดเครื่องจักร จำเป็นต้องติดตั้งใช้งานในตู้คอนโทรลอย่างเดียวหรือไม่?

      กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องพึ่งพาอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ภายในตู้คอนโทรลไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากมีการใช้งานบ่อยเเละมีความร้อนสูงก็ต้องหาวิธีบำรุงรักษาเพื่อยืดอายุของตู้คอนโทรลไฟฟ้าเพื่อให้ทำงานเต็มประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงมักนำ à¹à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸´à¸”เครื่องจักร à¸ˆà¸£à¸´à¸‡à¹† เเล้วก็คือ à¹à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸¹à¹‰à¸„อนโทรล à¸¡à¸²à¸•à¸´à¸”ตั้งในตู้คอนโทรลเพื่อระบายความร้อนภายในตู้ หน้าที่หลักๆ ของเเอร์ติดเครื่องจักร จะให้ความเย็นแก่อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยตรง ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นหากอุณหภูมิสูงเกิดไปจนอุปกรณ์ไฟฟ้าในตู้คอนโทรลเสียหาย

 

แอร์ติดเครื่องจักร ตัวช่วยที่ดีในการให้ความเย็นแก่อุปกรณ์ต่างๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม


         à¹à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸´à¸”เครื่องจักร à¹„ม่เพียงเเค่ใช้ติดตั้งใช้งานในตู้คอนโทรลหรือตู้ควบคุมไฟฟ้าได้เท่านั้น เเต่ยังสามารถติดตั้งใช้งานได้กับตู้ไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ได้ อาทิเช่น à¸•à¸¹à¹‰à¸„วบคุมเครื่องจักร, ตู้อินเวอร์เตอร์, ตู้ CNC, ตู้เซฟเวอร์, ตู้ PLC หรือตู้คอนโทรลขนาดไม่ใหญ่มากเเต่มีอุณหภูมิสูง à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸•à¹‰à¸™

         à¹€à¹€à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸´à¸”เครื่องจักรสามารถคลายความร้อนที่สูงเกินไปให้แก่ตู้ไฟฟ้าเหล่านี้ได้ดี เพื่อไม่ให้เกิดความร้อนเกินไปจนกระบวนการผลิตหรือการทำงานของเครื่องจักรขัดข้องจนต้องต้องหยุดชะงัก ไม่สามารถจัดการกับงานได้ตามปกติ ส่งมอบงานล่าช้า และถูกปรับได้ ดังนั้น แอร์ติดเครื่องจักร การติดตั้งแอร์ติดเครื่องจักร à¸«à¸£à¸·à¸­ แอร์ตู้คอนโทรล à¸„ือ คำตอบที่ดีที่สุด ที่จะป้องกันปัญหาดังกล่าวไม่ให้เกิดขึ้น อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดต้นทุนเรื่องการซ่อมบำรุงรักษา และลดค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสำหรับผู้ประกอบการอีกด้วย เเละมีข้อดีอื่นๆ อีกหลายประการ ดังนี้ 

- แอร์ติดเครื่องจักร ช่วยลดปัญหาความชื้นเเละฝุ่นละอองปะปนเข้าไปในตู้ควบคุมไฟฟ้า

- หมดปัญหาเรื่องการทำความสะอาด เพราะเเอร์ตู้คอนโทรลถูกออกเเบบมาเพื่อให้ติดตั้งง่ายเเละทำความสะอาดง่ายอยู่แล้ว

- เป็นการช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าเเละอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์

- ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจากความร้อนสูงในตู้คอนโทรล

 

 

แอร์ตู้คอนโทรล MODEL : WR1200

 

เเอร์ติดเครื่องจักร

 

แอร์ตู้คอนโทรล MODEL : WR2500

 

เเอร์ติดเครื่องจักร


         à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— à¸—รัพย์วรา เทคโนโลยี จำกัด à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸•à¸±à¸§à¹€à¹€à¸—นจำหน่าย à¹à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸¹à¹‰à¸„อนโทรล à¹à¸­à¸£à¹Œà¸•à¸´à¸”เครื่องจักร à¹à¸­à¸£à¹Œà¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¸•à¸¹à¹‰à¸„อนโทรล ที่ช่วยระบายความร้อนให้กับชุดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในตู้คอนโทรล à¹€à¸žà¸·à¹ˆà¸­à¹ƒà¸«à¹‰à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้า เมื่ออุปกรณ์ไม่ร้อนดังนั้นจึงไม่เกิดความเสียหาย เเละยังเป็นตัวเเทนจำหน่ายพัดลมระบายความร้อน NMB (NMB Fan Motor) พัดลมมอเตอร์ไฟฟ้า พัดลมระบายความร้อน ทุกรุ่น ทุกขนาด สินค้าคุณภาพรับประกันการใช้งาน 

 

สนใจติดต่อ à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— à¸—รัพย์วรา เทคโนโลยี จำกัด

subwara.brandexdirectory.com

www.subwara.com  

 

-------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง

หากต้องการลดความร้อนเครื่องจักรในโรงงาน ต้องใช้พัดลมระบายอากาศชนิดไหน

วิธีการเลือกใช้แอร์ตู้คอนโทรลให้เหมาะสมกับการใช้งาน

แอร์ตู้คอนโทรลที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15